บทความ
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ฟรอยด์ ได้อธิบายถึงการพัฒนาการทางบุคลิกภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางเพศ (Stage of Psychosexual Development) จากความเชื่อเกี่ยวกับสัญชาตญาณทางเพศในเด็กทารกที่แสดงออกมาในรูปพลังของ ลิบิโด (Libido) และสามารถเคลื่อนที่ไปยังส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายและบริเวณที่พลังลิบิโดไปรวมอยู่เรียกว่า ที่ของความรู้สึกพึงพอใจ (Erogeneous Zone) เมื่อพลังลิบิโดไปอยู่ในส่วนใดก็จะก่อให้เกิดความตึงเครียด (Tension) ซึ่งฟรอยด์ แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น ได้แก่
1. ขั้นปาก (Oral Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดถึง 1 ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่บริเวณปาก การได้รับการกระตุ้น หรือเร้าที่ปากจะทำให้เด็กเกิดความพึงพอใจ ทำให้เด็กตอบสนองความพึงพอใจของตนเองโดยการดูด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การดูดนมแม่จึงเป็นความสุขและความพึงพอใจของเขา
2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage) เด็กจะมีอายุตั้งแต่ 1-3ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่บริเวณทวาร โดยที่เด็กจะมีความพึงพอใจเมื่อมีสิ่งมากระตุ้น หรือเร้าบริเวณทวารในระยะนี้เด็กเริ่มเป็นตัวของตัวเอง เริ่มมีความพึงพอใจกับความสามารถในการควบคุมอวัยวะของตนเอง โดยเฉพาะอวัยวะขับถ่าย กิจกรรมที่เด็กมีความสุขจะเกี่ยวข้องกับการกลั้นอุจจาระ (Anal Retention) และการถ่ายอุจจาระ (Anal Expulsion) ความขัดแย้งที่มักเกิดขึ้นในขั้นนี้คือ การฝึกหัดการขับถ่าย(Toilet) Training ดังนั้น ถ้าพ่อแม่เลี้ยงดูด้วยความเอาใจใส่ และฝึกการขับถ่ายให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage) เริ่มตั้งแต่ 3 - 5 ขวบ ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่อวัยวะเพศ โดยที่เด็กเกิดความรู้สึกพึงพอใจกับการจับต้องอวัยวะเพศ เพราะมีความพึงพอใจทางเพศอยู่ที่ตนเองในระยะแรก ถ้าเด็กมีเพศตรงข้ามกับพ่อแม่เด็ก จะทำให้เด็กชายรักใคร่ และหวงแหนแม่จึงเกิดความรู้สึกอิจฉา เด็กหญิงจะรักใคร่และหวง แหนพ่อ จึงรู้สึกอิจฉาและเป็นศัตรูกับแม่
4. ขั้นแฝง (Latency Stage) เริ่มตั้งแต่ อายุ 6 – 12 ปี ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะไม่ปรากฏอยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายโดยเฉพาะ เสมือนขั้นแฝงของพลัง Libido เป็นระยะพักในเรื่องเพศ และจินตนาการทางเพศ
5. ขั้นอวัยวะเพศตอนปลาย (Genital Stage) เริ่มจาก 12 ขวบเป็นต้นไป ในระยะนี้เด็กจะเข้าสู่วัยรุ่น ไปจนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยชรา โดยมีErogonous Zone จะมาอยู่ที่อวัยวะเพศ (Genitel Area) เมื่อเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทั้งหญิงและชายต่างๆ กัน และมีพัฒนาการทางร่างกายมีความสามารถในการสืบพันธุ์ ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ มีความต้องการทางเพศอย่างรุนแรง ต้องการเป็นตัวของตัวเอง ต้องการเป็นอิสระ
......................................................................................................................................
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ฟรอยด์ ได้อธิบายถึงการพัฒนาการทางบุคลิกภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางเพศ (Stage of Psychosexual Development) จากความเชื่อเกี่ยวกับสัญชาตญาณทางเพศในเด็กทารกที่แสดงออกมาในรูปพลังของ ลิบิโด (Libido) และสามารถเคลื่อนที่ไปยังส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายและบริเวณที่พลังลิบิโดไปรวมอยู่เรียกว่า ที่ของความรู้สึกพึงพอใจ (Erogeneous Zone) เมื่อพลังลิบิโดไปอยู่ในส่วนใดก็จะก่อให้เกิดความตึงเครียด (Tension) ซึ่งฟรอยด์ แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น ได้แก่
1. ขั้นปาก (Oral Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดถึง 1 ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่บริเวณปาก การได้รับการกระตุ้น หรือเร้าที่ปากจะทำให้เด็กเกิดความพึงพอใจ ทำให้เด็กตอบสนองความพึงพอใจของตนเองโดยการดูด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การดูดนมแม่จึงเป็นความสุขและความพึงพอใจของเขา
2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage) เด็กจะมีอายุตั้งแต่ 1-3ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่บริเวณทวาร โดยที่เด็กจะมีความพึงพอใจเมื่อมีสิ่งมากระตุ้น หรือเร้าบริเวณทวารในระยะนี้เด็กเริ่มเป็นตัวของตัวเอง เริ่มมีความพึงพอใจกับความสามารถในการควบคุมอวัยวะของตนเอง โดยเฉพาะอวัยวะขับถ่าย กิจกรรมที่เด็กมีความสุขจะเกี่ยวข้องกับการกลั้นอุจจาระ (Anal Retention) และการถ่ายอุจจาระ (Anal Expulsion) ความขัดแย้งที่มักเกิดขึ้นในขั้นนี้คือ การฝึกหัดการขับถ่าย(Toilet) Training ดังนั้น ถ้าพ่อแม่เลี้ยงดูด้วยความเอาใจใส่ และฝึกการขับถ่ายให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage) เริ่มตั้งแต่ 3 - 5 ขวบ ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่อวัยวะเพศ โดยที่เด็กเกิดความรู้สึกพึงพอใจกับการจับต้องอวัยวะเพศ เพราะมีความพึงพอใจทางเพศอยู่ที่ตนเองในระยะแรก ถ้าเด็กมีเพศตรงข้ามกับพ่อแม่เด็ก จะทำให้เด็กชายรักใคร่ และหวงแหนแม่จึงเกิดความรู้สึกอิจฉา เด็กหญิงจะรักใคร่และหวง แหนพ่อ จึงรู้สึกอิจฉาและเป็นศัตรูกับแม่
4. ขั้นแฝง (Latency Stage) เริ่มตั้งแต่ อายุ 6 – 12 ปี ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะไม่ปรากฏอยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายโดยเฉพาะ เสมือนขั้นแฝงของพลัง Libido เป็นระยะพักในเรื่องเพศ และจินตนาการทางเพศ
5. ขั้นอวัยวะเพศตอนปลาย (Genital Stage) เริ่มจาก 12 ขวบเป็นต้นไป ในระยะนี้เด็กจะเข้าสู่วัยรุ่น ไปจนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยชรา โดยมีErogonous Zone จะมาอยู่ที่อวัยวะเพศ (Genitel Area) เมื่อเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทั้งหญิงและชายต่างๆ กัน และมีพัฒนาการทางร่างกายมีความสามารถในการสืบพันธุ์ ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ มีความต้องการทางเพศอย่างรุนแรง ต้องการเป็นตัวของตัวเอง ต้องการเป็นอิสระ
......................................................................................................................................
ประวัติ
ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freudian Psychoanalytic Theory)
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นบิดาของกลุ่มทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และเป็นผู้ตั้งทฤษฎีที่เกี่ยวกับบุคลิกภาพเรียกว่า“ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพ” (psychoanalytic theory of presonality) ขึ้น ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำความเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ ฟรอยด์ได้ให้ข้อคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพของมนุษย์ว่า เป็นผลเกิดมาจากความดิ้นรนพยายาม ระหว่างแรงขับอันเกิดจากภายในร่างกาย (Inner physiological drivers) ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น ความหิว อารมณ์เพศ และความก้าวร้าว เป็นต้น กับความกดดันทางสังคม (social pressure) ที่เป็นตัวคอยขัดขวาง เพื่อให้บุคคลประพฤติปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ และศีลธรรมจรรยาที่ดีงาม (Mowen and Minor.1998:202)
.....................................................................................................................................
ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freudian Psychoanalytic Theory)
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นบิดาของกลุ่มทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และเป็นผู้ตั้งทฤษฎีที่เกี่ยวกับบุคลิกภาพเรียกว่า“ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพ” (psychoanalytic theory of presonality) ขึ้น ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำความเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ ฟรอยด์ได้ให้ข้อคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพของมนุษย์ว่า เป็นผลเกิดมาจากความดิ้นรนพยายาม ระหว่างแรงขับอันเกิดจากภายในร่างกาย (Inner physiological drivers) ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น ความหิว อารมณ์เพศ และความก้าวร้าว เป็นต้น กับความกดดันทางสังคม (social pressure) ที่เป็นตัวคอยขัดขวาง เพื่อให้บุคคลประพฤติปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ และศีลธรรมจรรยาที่ดีงาม (Mowen and Minor.1998:202)
.....................................................................................................................................
ทฤษฎี
ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freudian Psychoanalytic Theory)
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ (Personality theories) มีมากมายหลายทฤษฎี แต่ในที่นี้จะขอนำมากล่าวพอเป็นสังเขปเพียงบางทฤษฎีที่สำคัญ ดังนี้
1. ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freudian Psychoanalytic Theory)
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นบิดาของกลุ่มทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และเป็นผู้ตั้งทฤษฎีที่เกี่ยวกับบุคลิกภาพ เรียกว่า “ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพ” (psychoanalytic theory of presonality) ขึ้น ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำความเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ ฟรอยด์ได้ให้ข้อคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพของมนุษย์ว่า เป็นผลเกิดมาจากความดิ้นรนพยายาม ระหว่างแรงขับอันเกิดจากภายในร่างกาย (Inner physiological drivers) ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น ความหิว อารมณ์เพศ และความก้าวร้าว เป็นต้น กับความกดดันทางสังคม (social pressure) ที่เป็นตัวคอยขัดขวาง เพื่อให้บุคคลประพฤติปฏิบัติเป็น ไปตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ และศีลธรรมจรรยาที่ดีงาม (Mowen and Minor.1998:202)
ฟรอยด์ เชื่อว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ มีแรงจูงใจมาจากจิตไร้สำนึก ซึ่งมักจะผลักดันออกมาในรูปความฝัน การพูดพลั้งปาก หรืออาการผิดปกติทางด้านจิตใจในด้านต่างๆ เช่น โรคจิต โรคประสาท เป็นต้นยัง เชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับแรงขับทางสัญชาตญาณ (Instinctual drive) และเป็นพลังงานที่สามารถเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนที่ได้ จิตจึงเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงและไม่หยุดนิ่ง บ้างจะแสดงออกมาในรูปแบบของสัญชาตญาณทางเพศ (Sexual Instinct) แต่ฟรอยด์ไม่ได้หมายถึง ความต้องการทางเพศ นอกจากนี้ ฟรอยด์ยังได้อธิบายว่าสัญชาตญาณจะแสดงออกมาในรูปของพลังทางจิตที่เกี่ยวข้องกับพลังขับทางเพศเรียกว่า พลังลิบิโด (Libido)เป็นพลังที่ทำให้มนุษย์
การทำงานของจิต แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
1. จิตไร้สำนึก ( Unconscious Mind ) การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์โดยออกไปโดยไม่รู้ตัว ที่เกิดมาจากพลังของจิตไร้สำนึกซึ่งทำหน้าที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงออกไปตามหลักแห่งความพึงพอใจของตน และการทำงานของจิตไร้สำนึกเกิดจากความปรารถนา หรือความต้องการของบุคคลที่เกิดขึ้นในวัยเด็ก ที่ไม่ได้รับการยอมรับ เช่น การถูกห้าม หรือถูกลงโทษ จะถูกเก็บกดไว้ในจิตส่วนนี้
2. จิตสำนึก ( Conscious Mind ) บุคคลรับรู้ตามประสาทสัมผัสทั้งห้า ที่บุคคลจะมีการรู้ตัวตลอดเวลาว่ากำลังทำอะไรอยู่ คิดอะไรอยู่ คิดอย่างไรเป็นการรับรู้โดยทั่วไปของมนุษย์ ที่ควบคุมการกระทำส่วนใหญ่ให้อยู่ในระดับรู้ตัว (Awareness) และเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมา โดยมีเจตนาและมีจุดมุ่งหมาย
3. จิตก่อนสำนึก ( Preconscious Mind ) เป็นส่วนของประสบการณ์ที่สะสมไว้ หรือเมื่อบุคคลต้องการนำกลับมาใช้ใหม่ก็สามารถระลึกได้และสามารถนำกลับมาใช้ในระดับจิตสำนึกได้ และเป็นส่วนที่อยู่ใกล้ชิดกับจิตรู้สำนึกมากกว่าจิตไร้สำนึก
จะเห็นได้ว่าการทำงานของจิตทั้ง 3 ระดับจะมาจากทั้งส่วนของจิตไร้สำนึกที่มีพฤติกรรม ส่วนใหญ่เป็นไปตามกระบวนการขั้นปฐมภูมิ (Primary Process)เป็นไปตามแรงขับสัญชาตญาณ ( Instinctual Drives ) และเมื่อมีการรับรู้กว้างไกลมากขึ้นจากตนเองไปยังบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อม พลังในส่วนของจิตก่อนสำนึกและจิตสำนึก จะพัฒนาขึ้นเป็นกระบวนการขั้นทุติยภูมิ (Secondary Process)
ฟรอยด์ ได้อธิบายว่า มนุษย์มีจิต 3 ระดับ คือ (1) จิตสำนึก (Conscious mind) (2) จิตก่อนสำนึก หรือจิตใต้สำนึก (Preconscious or Subconscious mind) และ (3) จิตไร้สำนึก (Unconscious mind) เป็นตัวคอยควบคุมกำกับพฤติกรรมของมนุษย์ให้แสดงพฤติกรรมออกมาต่าง ๆ นานา ฟรอยด์กล่าวว่า พลังผลักดันที่เป็นแรงขับให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมาจากจิตไร้สำนึก จึงไม่ได้ผ่านการพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ จากความคิดที่ว่าบุคคลเกิดการรับรู้เพียงส่วนน้อยที่เกี่ยวกับแรงผลักดันภายใน ที่จูงใจให้เกิดการกระทำ จึงเป็นจุดเปลี่ยนความคิดที่สำคัญอันยิ่งใหญ่ต่อการเข้าใจบุคลิกภาพของมนุษย์ (Rathus, quoted in Mowen and Minor.1998:202)
โครงสร้างของบุคลิกภาพ (Structure of personality)
ตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ เพื่อการอธิบายทำความเข้าใจงานเข้า ฟรอยด์ ได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาเพื่ออธิบายโครงสร้างบุคลิกภาพว่าประกอบด้วยองค์ประกอบที่เป็นระบบ 3 อย่าง คือ อิด (id) อีโก (ego) และซุปเปอร์อีโก (superego) ระบบทั้ง 3 อย่างนี้จะรวมกันเข้าเป็นโครงสร้างของบุคลิกภาพขึ้น แต่จะต้องเข้าใจว่าโอยแท้จริงแล้ว ระบบทั้ง 3 อย่างนี้ไม่อาจแยกเป็นส่วน ๆ ได้เป็นเพียงองค์ประกอบโครงสร้างของจิตตามสมมติฐานเท่านั้น ไม่ใช่ตามสภาพทางสรีระของมนุษย์ ระบบของจิตทั้ง 3 อย่าง ดังกล่าวอธิบายได้ ดังนี้
1. อิด (Id หรือ libido) หมายถึง แรงขับทางร่ายกายที่กำกับบุคคลให้กระทำการต่าง ๆ ซึ่งติดตัวมาตั้งแต่เกิด และเป็นตัวกระตุ้นที่ค่อนข้างรุนแรง อันเกิดจากภาวะของจิตไร้สำนึกเปรียบได้กับกิเลส ตัณหา หรือโลภ ที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง อิดจึงเป็นแรงกระตุ้นดิ้นรนขวนขวายที่จะประพฤติปฏิบัติ ไปตามหลักที่เรียกว่า “หลักแห่งความพอใจ” (pleasure principle) นั่นคือเพื่อหลีกเลี่ยงความเครียด (avoid tension) และแสวงหาความพึงใจในทันที เพื่อว่าความรู้สึกและอารมณ์ที่จะได้รับเป็นไปในทางบวก
แต่อย่างไรก็ตาม ภาวะของจิตที่คิดไปนั้น อยู่ระดับจิตไร้สำนึกหรือไม่รู้สึกตัว ซึ่งในโลกแห่งความเป็นจริงแล้ว ไม่อาจจะกระทำได้อย่างเต็มที่ จะเห็นได้ว่าความคิดของจิตที่เกิดขึ้นในบัดดลฉับพลันหลายๆ อย่าง ไม่อาจจะรับหรือปฏิบัติได้ในสังคมที่เจริญ ที่มีระเบียบแบบแผน ตัวอย่างเช่น เมื่อบุคคลเกิดความรู้สึกร้อนและกระหายน้ำ จิตของบุคคลนั้นก็จะกระตุ้นให้บุคคลนั้นไปหยิบหรือฉกฉวยอะไรบางอย่างที่เย็น ๆ มาดื่ม โดยจะไม่คำนึงถึงว่าจำเป็นจะต้องซื้อ หรือใครเป็นเจ้าของหรือไม่ (Loudon and Della Bitta.1993:301)
2. อีโก (Ego) หมายถึง จิตที่รู้สำนึก ที่ก่อตัวและพัฒนาขึ้นมาเมื่อเด็กเจริญเติบโต เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ และความรู้สึกนึกคิด จากการเรียนรู้และประสบการณ์ที่สั่งสม จึงทำให้อีโกได้รับการพัฒนาจนทำให้บุคคลมีความสามารถในการคิดที่อยู่ในวิสัยแห่งความเป็นจริง (realistic thinking) รวมทั้งมีความสามารถเผชิญกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควรกระทำจึงทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นนักบริหารหรือเป็นผู้จัดการของอิด (a manager for the id) โดยอีโกจะเป็นผู้เลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม เพื่อสนองความต้องการตามสัญชาตญาณให้เกิดความพอใจ โดยยึดถือความเป็นจริงมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา เนื่องจากจิตได้กำหนดความต้องการขึ้นมากจนเกินไป อีโกจึงจัดลำดับความสำคัญให้อยู่ในวิสัยที่สามารถจัดการได้ โดยยึดถือความสำคัญของความต้องการแต่ละอย่างเป็นหลัก รวมทั้งคอยขัดขวางยับยั้งควบคุมให้อิดแสดงออกที่เหมาะสม (Onkvisit and Show.1994:108)
ดังนั้นจังเห็นได้ว่า การปฏิบัติการของอีโก จึงเป็นการปฏิบัติตามหลักที่เรียกว่า “หลักแห่งความเป็นจริง” (Reality principle) นั่นคือ ความสามารถที่จะเลื่อนเวลาปลดปล่อยความเครียดออกไปได้ จนกว่าจะถึงเวลาที่เหมาะสม จากตัวอย่างข้างต้น แม้ว่าบุคคลจะเกิดความหิว ซึ่งอิดอาจจะกระตุ้นให้แย่งชิงอาหารจากเพื่อน แต่อีโกก็จะห้ามปรามเอาไว้โดยให้เหตุผลว่า เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติเพราะน่าเกลียดแสดงให้เห็นถึงความตะหละและป่าเถือน จึงควรหักห้ามใจเอาไว้รอเวลาอีกหน่อยอาจจะได้รับอาหารมากกว่านี้ เป็นต้น
3. ซุปเปอร์อีโก (Superego) หมายถึง องค์ประกอบส่วนที่สามของบุคลิกภาพเป็นส่วนของจิตที่เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของศีลธรรมจรรยา และระเบียบประเพณีของสังคม หรือเป็นมโนธรรมที่อยู่ในจิตของแต่ละบุคคล อันเกิดจากการเลี้ยงดูอบรมของครอบครัวและสังคม สามารถแยกออกได้ว่าอะไรคือ ความถูกต้องและเป็นสิ่งดีงาม อะไรควรหรือไม่กระทำ จึงทำหน้าที่ตรวจสอบและควบคุมทั้งอิดและอีโก เพื่อให้อีโกประพฤติปฏิบัติให้อยู่ในทำนองคลองธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม ไม่ปฏิบัติตามที่จิตเรียกร้องทุกอย่าง
ความสัมพันธ์กันระหว่างพลังจิตทั้ง 3 ส่วนนี้ นักจิตวิทยาบางท่านได้เปรียบเทียบไว้ว่า อิดเปรียบเสมือนส่วนประกอบพื้นฐานของบุคลิกภาพทางด้านชีววิทยา ส่วน อีโก เปรียบเสมือนส่วนประกอบของบุคลิกภาพทางด้านจิตใจ และ ซุปเปอร์อีโก เปรียบได้กับส่วนประกอบของบุคลิกภาพทางด้านสังคม (นิภา นิธยายน.2530:39) บุคลิกภาพของคนจะมีลักษณะเช่นใดนั้น จึงขึ้นอยู่กับพลังใดมีอำนาจถ้าอิดมีอำนาจสูง บุคคลนั้นก็จะมีบุคลิกภาพแบบเด็ก เอาแต่ใจตนเอง ถ้าอีโกมีอำนาจสูง บุคคลนั้นก็จะมีบุคลิกภาพแบบผู้ใหญ่มีเหตุผล ถ้าซุปเปอร์อีโกมีอำนาจสูง คนนั้นก็จะเป็นคนมีอุดมคติเป็นนักทฤษฎี (ปรีชา วิหคโต.2533:242) ความสัมพันธ์ของพลังจิตทั้ง 3 ส่วน จึงสรุปได้ว่า อีโก เป็นหน่วยปฏิบัติการ เป็นตัวกลางในการแสดงออกซึ่งบุคลิกภาพ และจะปฏิบัติตามแรงผลักดันของอิด โดยมีซุปเปอร์อีโกเป็นผู้ควบคุม
กลไกป้องกันตัว (Defense mechanism)
จากที่กล่าวมาแล้ว อีโกพยายามที่จะสนองความต้องการของจิต แต่มีบางอย่างที่อีโกไม่สามารถตอบสนองได้ เนื่องจากขัดกับมโนธรรมสำนึกในซุปเปอร์อีโก จนนำไปสู่การขัดแย้งจนไม่สามารถหาทางแก้ได้ จึงทำให้บุคคลตกอยู่ใน “ภาวะความเครียด” (tension) กลไกการป้องกันตัวจึงเข้ามามีบทบาท เพื่อหลีกเลี่ยงหรือหลีกหนีภาวะความเครียดที่รุนแรง อันเกิดจากความขัดแย้งขององค์ประกอบของบุคลิกภาพ ดังกล่าว
กลไกป้องกันตัว หรือการปรับตัวมีมากมายหลายวิธี แต่จะขอนำมากล่าวเพียงบางวิธีที่สำคัญ ดังนี้ (Loudon and Della Bitta.1993ซ302)
(1) การเก็บกด (Repression) เป็นวิธีพื้นฐานเพื่อปกปิดความขัดแย้งเอาไว้ เพื่อไม่ให้แสดงออกมา เพราะหากแสดงพฤติกรรมออกมาจะถูกสังคมตำหนิได้ ตัวอย่างเช่น ผู้ใหญ่ที่นั่งดูกีฬาที่ตื่นเต้น ซึ่งโดยจิตใจที่แท้จริงแล้วอยากที่จะแสดงอาการเชียร์อย่างเต็มที่ แต่เกรงจะถูกตำหนิว่า ทำตัวไม่เหมาะสมกับฐานที่เป็นผู้ใหญ่ที่ไม่สำรวม จึงเพียงแต่นั่งดูกีฬาเฉย ๆ
(2) การป้ายความผิดให้กับผู้อื่น (Projection) เป็นการบิดเบียนความรู้สึกอันเกิดจากความต้องการของตนเองที่ไม่ดีไปให้บุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น คนที่มีความรู้สึกว่าตนเองเป็นคนเห็นแก่ตัว มักจะตำหนิคนอื่นว่าเป็นคนเห็นแก่ตัว เพื่อตนเองจะได้รู้สึกสบายใจ ที่มีคนอื่นเห็นแก่ตัวเหมือนกับตน
(3) การยึดถือผู้อื่นเป็นแบบอย่าง (Identification) เป็นการเลียนแบบพฤติกรรมของผู้อื่นที่
ตนเชื่อว่า เขามีความสามารถที่จะจัดการกับความขัดแย้ง เช่นเดียวกับความขัดแย้งที่ตนเผชิญอยู่ได้ประสบผลสำเร็จ เช่น การเลียนแบบพ่อหรือแม่ เป็นต้น
(4) แสดงพฤติกรรมตรงกันข้ามกับความรู้สึก (Reaction formation) เป็นการแสดงพฤติกรรมตรงกันข้ามกับความรู้สึกที่ตนมีในใจ ตัวอย่างเช่น ผู้ชายหลงรักผู้หญิง แต่ไม่ได้รับความสนใจจากผู้หญิง จึงแสดงพฤติกรรมทำเป็นไม่สนใจด้วย ซึ่งตรงกันข้ามกับความรู้สึก เป็นการหลอกตนเองเพื่อป้องกันศักดิ์ศรี
2. ทฤษฎีฟรอยด์ยุคใหม่ (Neo – Freudian theory)
จากทฤษฎีของฟรอยด์ ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น ในระยะต่อมาปรากฏว่าผู้ร่วมงานและลูกศิษย์ของฟรอยด์บางคนไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดของฟรอยด์บางประการโดยเฉพาะความคิดที่ว่า บุคลิกภาพของคน ซึ่งฟรอยด์เน้นว่าเกิดจากสัญชาตญาณความต้องการทางเพศ (sexual instincts) กลุ่มคนเหล่านี้ซึ่งต่อมาเรียกกันว่า “กลุ่มทฤษฏีฟรอยด์ยุคใหม่” (Neo – Freudians) มีแนวความคิดที่แตกต่างออกไปใน 2 ประเด็น ที่สำคัญคือ
(1) พวกเขาเชื่อว่าปัจจัยตัวแปรทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (social and cultural variables) มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของคนมากกว่าแรงขับทางด้านชีววิทยา(biological drives) เสียอีก
(2) การศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพของฟรอยด์ส่วนใหญ่มุ่งเน้นการสังเกตจากคนในขณะที่ได้รับการรบกวนทางอารมณ์เป็นพื้นฐาน ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าการหยั่งรู้การพัฒนาบุคลิกภาพของคนอย่างแท้จริง ควรจะใช้วิธีการสังเกตคนในขณะที่เขาอยู่ในสภาพแวดล้อมทางสังคมตามปกติของเขาควบคู่ไปด้วย (Assael.1998:450) ตามแนวความคิดของคนกลุ่มนี้ทำให้เกิดทฤษฎีใหม่เรียกว่า “ทฤษฎีสังคมและวัฒนธรรม” (social/cultural theories) ขึ้น
บุคคลกลุ่มนี้มีวิธีจำแนกบุคลิกภาพคน โดยอาศัยปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมไว้แตกต่างกันแต่ที่ได้รับการยอมรับค่อนข้างมาก ขอนำมากล่าวเพียง 3 ท่าน คือ คาร์ลจุง (Carl Jung) คาเรน ฮอร์นนีย์ (Kare Horney ) และเดวิด ไรส์แมน (David Riesman)
คาร์ลจุง (Carl Jung)
จุง มีความเชื่อในเรื่องแรงจูงใจทางเพศน้อยกว่าฟรอยด์ เขาเชื่อว่าคนเราสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ “กลุ่มเก็บตัว” (introverts) ได้แก่ พวกที่ชอบเก็บตัวเองเงียบ ๆ อยู่ในโลกส่วนตัวของเขาลักษณะของพวกเก็บตัวจะมีนิสัยขี้อาย ชอบอยู่คนเดียว และรู้สึกอึดอัดกระวนกระวายใจเมื่ออยู่กับผู้อื่น ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งในทางตรงกันข้าม คือ “กลุ่มเปิดเผย” (extroverts) หรือไม่เก็บตัว ได้แก่ พวกที่ชอบคบหาสมาคมกับผู้อื่น ก้าวออกสู่โลกภายนอกและชอบออกสังคม (Hoyer and Maclnnis.1997:424) แต่อย่างไรก็ตาม นักวิชาการบางท่านเห็นว่าโดยแท้จริงแล้วจะมีคนอีกกลุ่มหนึ่งอยู่ระหว่างกลาง ระหว่างพวกไม่เก็บตัวกับเก็บตัว เรียกว่า “กลุ่มเป็นกลาง” (ambiverts) ซึ่งเป็นคนกลุ่มใหญ่ในสังคมทั่วไป
คาเรน ฮอร์นนีย์ (Kare Horney)
ฮอร์นนีย์ เป็นนักทฤษฏีสังคมอีกผู้หนึ่ง เธอมีความเชื่อว่าบุคลิกภาพได้รับการพัฒนาตั้งแต่เมื่อเด็กเกิดการเรียนรู้ที่จะเอาชนะความกังวลใจต่าง ๆ อันเกิดจากเด็กได้มีความสัมพันธ์กับพ่อแม่ ตามแนวความคิดของฮอร์นนีย์ การจัดประเภทของคนแบ่งตามลักษณะ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบคือ (Onkvisit and Shaw.1994:112)
(1) พวกอ่อนน้อมถ่อมตน (Compliant persons) เป็นพวกนิยมคล้อยตามผู้อื่น ไม่ชอบขัดใจใคร ชอบเข้าหาผู้อื่นเพื่อขอคำแนะนำขอความช่วยเหลือ ลักษณะสำคัญของกลุ่มนี้ คือ ความดี ความเห็นอกเห็นใจกัน ความรัก ความเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว และความนอบน้อมถ่อมตน พวกนี้จะไม่ชอบบุคคลทีแสดงออก เห็นแก่ตัว ก้าวร้าว ระรานและแสวงหาอำนาจ
(2) พวกก้าวร้าว (Aggressive persons) ปกติจะเป็นพวกต่อต้านผู้อื่น ต้องการอำนาจบารมี
ไม่ต้องการขอความช่วยเหลือจากใคร มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง (self – confident) และมีจิตใจที่แข็งกร้าวเด็ดเดี่ยว (tough – minded) ( Hoyer and Maclnnis.1997:426)
(3) พวกถือสันโดษ (Detached persons) กลุ่มนี้ชอบหลีกหนีจากผู้คนไม่ชอบเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับใคร ชอบเป็นตัวของตัวเอง ชอบมีอิสระภาพและไม่อยากที่จะแสดงความสามารถของตนอวดผู้อื่น แม้ว่าคนเองเชื่อว่าตนมีความสามารถก็ตาม
เดวิด ไรส์แมน (David Riesman)
ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freudian Psychoanalytic Theory)
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ (Personality theories) มีมากมายหลายทฤษฎี แต่ในที่นี้จะขอนำมากล่าวพอเป็นสังเขปเพียงบางทฤษฎีที่สำคัญ ดังนี้
1. ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freudian Psychoanalytic Theory)
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นบิดาของกลุ่มทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และเป็นผู้ตั้งทฤษฎีที่เกี่ยวกับบุคลิกภาพ เรียกว่า “ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพ” (psychoanalytic theory of presonality) ขึ้น ซึ่งนับว่ามีอิทธิพลสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำความเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ ฟรอยด์ได้ให้ข้อคิดเกี่ยวกับบุคลิกภาพของมนุษย์ว่า เป็นผลเกิดมาจากความดิ้นรนพยายาม ระหว่างแรงขับอันเกิดจากภายในร่างกาย (Inner physiological drivers) ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น ความหิว อารมณ์เพศ และความก้าวร้าว เป็นต้น กับความกดดันทางสังคม (social pressure) ที่เป็นตัวคอยขัดขวาง เพื่อให้บุคคลประพฤติปฏิบัติเป็น ไปตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ และศีลธรรมจรรยาที่ดีงาม (Mowen and Minor.1998:202)
ฟรอยด์ เชื่อว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ มีแรงจูงใจมาจากจิตไร้สำนึก ซึ่งมักจะผลักดันออกมาในรูปความฝัน การพูดพลั้งปาก หรืออาการผิดปกติทางด้านจิตใจในด้านต่างๆ เช่น โรคจิต โรคประสาท เป็นต้นยัง เชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับแรงขับทางสัญชาตญาณ (Instinctual drive) และเป็นพลังงานที่สามารถเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนที่ได้ จิตจึงเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงและไม่หยุดนิ่ง บ้างจะแสดงออกมาในรูปแบบของสัญชาตญาณทางเพศ (Sexual Instinct) แต่ฟรอยด์ไม่ได้หมายถึง ความต้องการทางเพศ นอกจากนี้ ฟรอยด์ยังได้อธิบายว่าสัญชาตญาณจะแสดงออกมาในรูปของพลังทางจิตที่เกี่ยวข้องกับพลังขับทางเพศเรียกว่า พลังลิบิโด (Libido)เป็นพลังที่ทำให้มนุษย์
การทำงานของจิต แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
1. จิตไร้สำนึก ( Unconscious Mind ) การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์โดยออกไปโดยไม่รู้ตัว ที่เกิดมาจากพลังของจิตไร้สำนึกซึ่งทำหน้าที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงออกไปตามหลักแห่งความพึงพอใจของตน และการทำงานของจิตไร้สำนึกเกิดจากความปรารถนา หรือความต้องการของบุคคลที่เกิดขึ้นในวัยเด็ก ที่ไม่ได้รับการยอมรับ เช่น การถูกห้าม หรือถูกลงโทษ จะถูกเก็บกดไว้ในจิตส่วนนี้
2. จิตสำนึก ( Conscious Mind ) บุคคลรับรู้ตามประสาทสัมผัสทั้งห้า ที่บุคคลจะมีการรู้ตัวตลอดเวลาว่ากำลังทำอะไรอยู่ คิดอะไรอยู่ คิดอย่างไรเป็นการรับรู้โดยทั่วไปของมนุษย์ ที่ควบคุมการกระทำส่วนใหญ่ให้อยู่ในระดับรู้ตัว (Awareness) และเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมา โดยมีเจตนาและมีจุดมุ่งหมาย
3. จิตก่อนสำนึก ( Preconscious Mind ) เป็นส่วนของประสบการณ์ที่สะสมไว้ หรือเมื่อบุคคลต้องการนำกลับมาใช้ใหม่ก็สามารถระลึกได้และสามารถนำกลับมาใช้ในระดับจิตสำนึกได้ และเป็นส่วนที่อยู่ใกล้ชิดกับจิตรู้สำนึกมากกว่าจิตไร้สำนึก
จะเห็นได้ว่าการทำงานของจิตทั้ง 3 ระดับจะมาจากทั้งส่วนของจิตไร้สำนึกที่มีพฤติกรรม ส่วนใหญ่เป็นไปตามกระบวนการขั้นปฐมภูมิ (Primary Process)เป็นไปตามแรงขับสัญชาตญาณ ( Instinctual Drives ) และเมื่อมีการรับรู้กว้างไกลมากขึ้นจากตนเองไปยังบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อม พลังในส่วนของจิตก่อนสำนึกและจิตสำนึก จะพัฒนาขึ้นเป็นกระบวนการขั้นทุติยภูมิ (Secondary Process)
ฟรอยด์ ได้อธิบายว่า มนุษย์มีจิต 3 ระดับ คือ (1) จิตสำนึก (Conscious mind) (2) จิตก่อนสำนึก หรือจิตใต้สำนึก (Preconscious or Subconscious mind) และ (3) จิตไร้สำนึก (Unconscious mind) เป็นตัวคอยควบคุมกำกับพฤติกรรมของมนุษย์ให้แสดงพฤติกรรมออกมาต่าง ๆ นานา ฟรอยด์กล่าวว่า พลังผลักดันที่เป็นแรงขับให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมาจากจิตไร้สำนึก จึงไม่ได้ผ่านการพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ จากความคิดที่ว่าบุคคลเกิดการรับรู้เพียงส่วนน้อยที่เกี่ยวกับแรงผลักดันภายใน ที่จูงใจให้เกิดการกระทำ จึงเป็นจุดเปลี่ยนความคิดที่สำคัญอันยิ่งใหญ่ต่อการเข้าใจบุคลิกภาพของมนุษย์ (Rathus, quoted in Mowen and Minor.1998:202)
โครงสร้างของบุคลิกภาพ (Structure of personality)
ตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ เพื่อการอธิบายทำความเข้าใจงานเข้า ฟรอยด์ ได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาเพื่ออธิบายโครงสร้างบุคลิกภาพว่าประกอบด้วยองค์ประกอบที่เป็นระบบ 3 อย่าง คือ อิด (id) อีโก (ego) และซุปเปอร์อีโก (superego) ระบบทั้ง 3 อย่างนี้จะรวมกันเข้าเป็นโครงสร้างของบุคลิกภาพขึ้น แต่จะต้องเข้าใจว่าโอยแท้จริงแล้ว ระบบทั้ง 3 อย่างนี้ไม่อาจแยกเป็นส่วน ๆ ได้เป็นเพียงองค์ประกอบโครงสร้างของจิตตามสมมติฐานเท่านั้น ไม่ใช่ตามสภาพทางสรีระของมนุษย์ ระบบของจิตทั้ง 3 อย่าง ดังกล่าวอธิบายได้ ดังนี้
1. อิด (Id หรือ libido) หมายถึง แรงขับทางร่ายกายที่กำกับบุคคลให้กระทำการต่าง ๆ ซึ่งติดตัวมาตั้งแต่เกิด และเป็นตัวกระตุ้นที่ค่อนข้างรุนแรง อันเกิดจากภาวะของจิตไร้สำนึกเปรียบได้กับกิเลส ตัณหา หรือโลภ ที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง อิดจึงเป็นแรงกระตุ้นดิ้นรนขวนขวายที่จะประพฤติปฏิบัติ ไปตามหลักที่เรียกว่า “หลักแห่งความพอใจ” (pleasure principle) นั่นคือเพื่อหลีกเลี่ยงความเครียด (avoid tension) และแสวงหาความพึงใจในทันที เพื่อว่าความรู้สึกและอารมณ์ที่จะได้รับเป็นไปในทางบวก
แต่อย่างไรก็ตาม ภาวะของจิตที่คิดไปนั้น อยู่ระดับจิตไร้สำนึกหรือไม่รู้สึกตัว ซึ่งในโลกแห่งความเป็นจริงแล้ว ไม่อาจจะกระทำได้อย่างเต็มที่ จะเห็นได้ว่าความคิดของจิตที่เกิดขึ้นในบัดดลฉับพลันหลายๆ อย่าง ไม่อาจจะรับหรือปฏิบัติได้ในสังคมที่เจริญ ที่มีระเบียบแบบแผน ตัวอย่างเช่น เมื่อบุคคลเกิดความรู้สึกร้อนและกระหายน้ำ จิตของบุคคลนั้นก็จะกระตุ้นให้บุคคลนั้นไปหยิบหรือฉกฉวยอะไรบางอย่างที่เย็น ๆ มาดื่ม โดยจะไม่คำนึงถึงว่าจำเป็นจะต้องซื้อ หรือใครเป็นเจ้าของหรือไม่ (Loudon and Della Bitta.1993:301)
2. อีโก (Ego) หมายถึง จิตที่รู้สำนึก ที่ก่อตัวและพัฒนาขึ้นมาเมื่อเด็กเจริญเติบโต เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ และความรู้สึกนึกคิด จากการเรียนรู้และประสบการณ์ที่สั่งสม จึงทำให้อีโกได้รับการพัฒนาจนทำให้บุคคลมีความสามารถในการคิดที่อยู่ในวิสัยแห่งความเป็นจริง (realistic thinking) รวมทั้งมีความสามารถเผชิญกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควรกระทำจึงทำหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นนักบริหารหรือเป็นผู้จัดการของอิด (a manager for the id) โดยอีโกจะเป็นผู้เลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม เพื่อสนองความต้องการตามสัญชาตญาณให้เกิดความพอใจ โดยยึดถือความเป็นจริงมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา เนื่องจากจิตได้กำหนดความต้องการขึ้นมากจนเกินไป อีโกจึงจัดลำดับความสำคัญให้อยู่ในวิสัยที่สามารถจัดการได้ โดยยึดถือความสำคัญของความต้องการแต่ละอย่างเป็นหลัก รวมทั้งคอยขัดขวางยับยั้งควบคุมให้อิดแสดงออกที่เหมาะสม (Onkvisit and Show.1994:108)
ดังนั้นจังเห็นได้ว่า การปฏิบัติการของอีโก จึงเป็นการปฏิบัติตามหลักที่เรียกว่า “หลักแห่งความเป็นจริง” (Reality principle) นั่นคือ ความสามารถที่จะเลื่อนเวลาปลดปล่อยความเครียดออกไปได้ จนกว่าจะถึงเวลาที่เหมาะสม จากตัวอย่างข้างต้น แม้ว่าบุคคลจะเกิดความหิว ซึ่งอิดอาจจะกระตุ้นให้แย่งชิงอาหารจากเพื่อน แต่อีโกก็จะห้ามปรามเอาไว้โดยให้เหตุผลว่า เป็นสิ่งไม่ควรปฏิบัติเพราะน่าเกลียดแสดงให้เห็นถึงความตะหละและป่าเถือน จึงควรหักห้ามใจเอาไว้รอเวลาอีกหน่อยอาจจะได้รับอาหารมากกว่านี้ เป็นต้น
3. ซุปเปอร์อีโก (Superego) หมายถึง องค์ประกอบส่วนที่สามของบุคลิกภาพเป็นส่วนของจิตที่เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของศีลธรรมจรรยา และระเบียบประเพณีของสังคม หรือเป็นมโนธรรมที่อยู่ในจิตของแต่ละบุคคล อันเกิดจากการเลี้ยงดูอบรมของครอบครัวและสังคม สามารถแยกออกได้ว่าอะไรคือ ความถูกต้องและเป็นสิ่งดีงาม อะไรควรหรือไม่กระทำ จึงทำหน้าที่ตรวจสอบและควบคุมทั้งอิดและอีโก เพื่อให้อีโกประพฤติปฏิบัติให้อยู่ในทำนองคลองธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม ไม่ปฏิบัติตามที่จิตเรียกร้องทุกอย่าง
ความสัมพันธ์กันระหว่างพลังจิตทั้ง 3 ส่วนนี้ นักจิตวิทยาบางท่านได้เปรียบเทียบไว้ว่า อิดเปรียบเสมือนส่วนประกอบพื้นฐานของบุคลิกภาพทางด้านชีววิทยา ส่วน อีโก เปรียบเสมือนส่วนประกอบของบุคลิกภาพทางด้านจิตใจ และ ซุปเปอร์อีโก เปรียบได้กับส่วนประกอบของบุคลิกภาพทางด้านสังคม (นิภา นิธยายน.2530:39) บุคลิกภาพของคนจะมีลักษณะเช่นใดนั้น จึงขึ้นอยู่กับพลังใดมีอำนาจถ้าอิดมีอำนาจสูง บุคคลนั้นก็จะมีบุคลิกภาพแบบเด็ก เอาแต่ใจตนเอง ถ้าอีโกมีอำนาจสูง บุคคลนั้นก็จะมีบุคลิกภาพแบบผู้ใหญ่มีเหตุผล ถ้าซุปเปอร์อีโกมีอำนาจสูง คนนั้นก็จะเป็นคนมีอุดมคติเป็นนักทฤษฎี (ปรีชา วิหคโต.2533:242) ความสัมพันธ์ของพลังจิตทั้ง 3 ส่วน จึงสรุปได้ว่า อีโก เป็นหน่วยปฏิบัติการ เป็นตัวกลางในการแสดงออกซึ่งบุคลิกภาพ และจะปฏิบัติตามแรงผลักดันของอิด โดยมีซุปเปอร์อีโกเป็นผู้ควบคุม
กลไกป้องกันตัว (Defense mechanism)
จากที่กล่าวมาแล้ว อีโกพยายามที่จะสนองความต้องการของจิต แต่มีบางอย่างที่อีโกไม่สามารถตอบสนองได้ เนื่องจากขัดกับมโนธรรมสำนึกในซุปเปอร์อีโก จนนำไปสู่การขัดแย้งจนไม่สามารถหาทางแก้ได้ จึงทำให้บุคคลตกอยู่ใน “ภาวะความเครียด” (tension) กลไกการป้องกันตัวจึงเข้ามามีบทบาท เพื่อหลีกเลี่ยงหรือหลีกหนีภาวะความเครียดที่รุนแรง อันเกิดจากความขัดแย้งขององค์ประกอบของบุคลิกภาพ ดังกล่าว
กลไกป้องกันตัว หรือการปรับตัวมีมากมายหลายวิธี แต่จะขอนำมากล่าวเพียงบางวิธีที่สำคัญ ดังนี้ (Loudon and Della Bitta.1993ซ302)
(1) การเก็บกด (Repression) เป็นวิธีพื้นฐานเพื่อปกปิดความขัดแย้งเอาไว้ เพื่อไม่ให้แสดงออกมา เพราะหากแสดงพฤติกรรมออกมาจะถูกสังคมตำหนิได้ ตัวอย่างเช่น ผู้ใหญ่ที่นั่งดูกีฬาที่ตื่นเต้น ซึ่งโดยจิตใจที่แท้จริงแล้วอยากที่จะแสดงอาการเชียร์อย่างเต็มที่ แต่เกรงจะถูกตำหนิว่า ทำตัวไม่เหมาะสมกับฐานที่เป็นผู้ใหญ่ที่ไม่สำรวม จึงเพียงแต่นั่งดูกีฬาเฉย ๆ
(2) การป้ายความผิดให้กับผู้อื่น (Projection) เป็นการบิดเบียนความรู้สึกอันเกิดจากความต้องการของตนเองที่ไม่ดีไปให้บุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น คนที่มีความรู้สึกว่าตนเองเป็นคนเห็นแก่ตัว มักจะตำหนิคนอื่นว่าเป็นคนเห็นแก่ตัว เพื่อตนเองจะได้รู้สึกสบายใจ ที่มีคนอื่นเห็นแก่ตัวเหมือนกับตน
(3) การยึดถือผู้อื่นเป็นแบบอย่าง (Identification) เป็นการเลียนแบบพฤติกรรมของผู้อื่นที่
ตนเชื่อว่า เขามีความสามารถที่จะจัดการกับความขัดแย้ง เช่นเดียวกับความขัดแย้งที่ตนเผชิญอยู่ได้ประสบผลสำเร็จ เช่น การเลียนแบบพ่อหรือแม่ เป็นต้น
(4) แสดงพฤติกรรมตรงกันข้ามกับความรู้สึก (Reaction formation) เป็นการแสดงพฤติกรรมตรงกันข้ามกับความรู้สึกที่ตนมีในใจ ตัวอย่างเช่น ผู้ชายหลงรักผู้หญิง แต่ไม่ได้รับความสนใจจากผู้หญิง จึงแสดงพฤติกรรมทำเป็นไม่สนใจด้วย ซึ่งตรงกันข้ามกับความรู้สึก เป็นการหลอกตนเองเพื่อป้องกันศักดิ์ศรี
2. ทฤษฎีฟรอยด์ยุคใหม่ (Neo – Freudian theory)
จากทฤษฎีของฟรอยด์ ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น ในระยะต่อมาปรากฏว่าผู้ร่วมงานและลูกศิษย์ของฟรอยด์บางคนไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดของฟรอยด์บางประการโดยเฉพาะความคิดที่ว่า บุคลิกภาพของคน ซึ่งฟรอยด์เน้นว่าเกิดจากสัญชาตญาณความต้องการทางเพศ (sexual instincts) กลุ่มคนเหล่านี้ซึ่งต่อมาเรียกกันว่า “กลุ่มทฤษฏีฟรอยด์ยุคใหม่” (Neo – Freudians) มีแนวความคิดที่แตกต่างออกไปใน 2 ประเด็น ที่สำคัญคือ
(1) พวกเขาเชื่อว่าปัจจัยตัวแปรทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (social and cultural variables) มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของคนมากกว่าแรงขับทางด้านชีววิทยา(biological drives) เสียอีก
(2) การศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพของฟรอยด์ส่วนใหญ่มุ่งเน้นการสังเกตจากคนในขณะที่ได้รับการรบกวนทางอารมณ์เป็นพื้นฐาน ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าการหยั่งรู้การพัฒนาบุคลิกภาพของคนอย่างแท้จริง ควรจะใช้วิธีการสังเกตคนในขณะที่เขาอยู่ในสภาพแวดล้อมทางสังคมตามปกติของเขาควบคู่ไปด้วย (Assael.1998:450) ตามแนวความคิดของคนกลุ่มนี้ทำให้เกิดทฤษฎีใหม่เรียกว่า “ทฤษฎีสังคมและวัฒนธรรม” (social/cultural theories) ขึ้น
(1) พวกเขาเชื่อว่าปัจจัยตัวแปรทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (social and cultural variables) มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของคนมากกว่าแรงขับทางด้านชีววิทยา(biological drives) เสียอีก
(2) การศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพของฟรอยด์ส่วนใหญ่มุ่งเน้นการสังเกตจากคนในขณะที่ได้รับการรบกวนทางอารมณ์เป็นพื้นฐาน ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าการหยั่งรู้การพัฒนาบุคลิกภาพของคนอย่างแท้จริง ควรจะใช้วิธีการสังเกตคนในขณะที่เขาอยู่ในสภาพแวดล้อมทางสังคมตามปกติของเขาควบคู่ไปด้วย (Assael.1998:450) ตามแนวความคิดของคนกลุ่มนี้ทำให้เกิดทฤษฎีใหม่เรียกว่า “ทฤษฎีสังคมและวัฒนธรรม” (social/cultural theories) ขึ้น
บุคคลกลุ่มนี้มีวิธีจำแนกบุคลิกภาพคน โดยอาศัยปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมไว้แตกต่างกันแต่ที่ได้รับการยอมรับค่อนข้างมาก ขอนำมากล่าวเพียง 3 ท่าน คือ คาร์ลจุง (Carl Jung) คาเรน ฮอร์นนีย์ (Kare Horney ) และเดวิด ไรส์แมน (David Riesman)
คาร์ลจุง (Carl Jung)
จุง มีความเชื่อในเรื่องแรงจูงใจทางเพศน้อยกว่าฟรอยด์ เขาเชื่อว่าคนเราสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ “กลุ่มเก็บตัว” (introverts) ได้แก่ พวกที่ชอบเก็บตัวเองเงียบ ๆ อยู่ในโลกส่วนตัวของเขาลักษณะของพวกเก็บตัวจะมีนิสัยขี้อาย ชอบอยู่คนเดียว และรู้สึกอึดอัดกระวนกระวายใจเมื่ออยู่กับผู้อื่น ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งในทางตรงกันข้าม คือ “กลุ่มเปิดเผย” (extroverts) หรือไม่เก็บตัว ได้แก่ พวกที่ชอบคบหาสมาคมกับผู้อื่น ก้าวออกสู่โลกภายนอกและชอบออกสังคม (Hoyer and Maclnnis.1997:424) แต่อย่างไรก็ตาม นักวิชาการบางท่านเห็นว่าโดยแท้จริงแล้วจะมีคนอีกกลุ่มหนึ่งอยู่ระหว่างกลาง ระหว่างพวกไม่เก็บตัวกับเก็บตัว เรียกว่า “กลุ่มเป็นกลาง” (ambiverts) ซึ่งเป็นคนกลุ่มใหญ่ในสังคมทั่วไป
คาเรน ฮอร์นนีย์ (Kare Horney)
ฮอร์นนีย์ เป็นนักทฤษฏีสังคมอีกผู้หนึ่ง เธอมีความเชื่อว่าบุคลิกภาพได้รับการพัฒนาตั้งแต่เมื่อเด็กเกิดการเรียนรู้ที่จะเอาชนะความกังวลใจต่าง ๆ อันเกิดจากเด็กได้มีความสัมพันธ์กับพ่อแม่ ตามแนวความคิดของฮอร์นนีย์ การจัดประเภทของคนแบ่งตามลักษณะ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบคือ (Onkvisit and Shaw.1994:112)
(1) พวกอ่อนน้อมถ่อมตน (Compliant persons) เป็นพวกนิยมคล้อยตามผู้อื่น ไม่ชอบขัดใจใคร ชอบเข้าหาผู้อื่นเพื่อขอคำแนะนำขอความช่วยเหลือ ลักษณะสำคัญของกลุ่มนี้ คือ ความดี ความเห็นอกเห็นใจกัน ความรัก ความเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว และความนอบน้อมถ่อมตน พวกนี้จะไม่ชอบบุคคลทีแสดงออก เห็นแก่ตัว ก้าวร้าว ระรานและแสวงหาอำนาจ
(2) พวกก้าวร้าว (Aggressive persons) ปกติจะเป็นพวกต่อต้านผู้อื่น ต้องการอำนาจบารมี
ไม่ต้องการขอความช่วยเหลือจากใคร มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง (self – confident) และมีจิตใจที่แข็งกร้าวเด็ดเดี่ยว (tough – minded) ( Hoyer and Maclnnis.1997:426)
(3) พวกถือสันโดษ (Detached persons) กลุ่มนี้ชอบหลีกหนีจากผู้คนไม่ชอบเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับใคร ชอบเป็นตัวของตัวเอง ชอบมีอิสระภาพและไม่อยากที่จะแสดงความสามารถของตนอวดผู้อื่น แม้ว่าคนเองเชื่อว่าตนมีความสามารถก็ตาม
เดวิด ไรส์แมน (David Riesman)
ไรส์แมน ได้ใช้ลักษณะทางสังคมและค่านิยม มาใช้เป็นเกณฑ์ในการแบ่งบุคลิกภาพของคน โดยแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้คือ (Onkvisit and Shaw.1994:112-113)
(1) พวกยึดถือขนบธรรมเนียมดั้งเดิม (Tradition – directed persons) ได้แก่ พวกที่ชอบประพฤติปฏิบัติไปตามแบบอย่างที่เคยปฏิบัติกันมา กลุ่มคนพวกนี้จะขอคำแนะนำจากผู้ใหญ่ผู้สูงอายุมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ และโดยทั่วไปจะขัดขืนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการซื้อ จะยึดถือนิสัยความเคยชินเป็นหลัก และจะไม่เป็นผู้นำทางแฟชั่น (fashion leader)
(2) พวกยึดถือตัวเองเป็นหลัก (Inner - directed persons) ได้แก่ พวกที่มีระบบค่านิยมของตนเอง มาใช้เป็นแนวทางในการกำหนดพฤติกรรมต่าง ๆ ปฏิบัติกิจกรรมตามคำบัญชาของตนเองอย่างเหนี่ยวแน่น มีความเป็นอิสระและผู้อื่นจะมามีอิทธิพลจูงใจได้ยาก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง
(3) พวกยึดถือผู้อื่นเป็นแบบอย่าง (Other - directed persons) ได้แก่ พวกชอบทำตามผู้อื่นทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าเขาต้องการความคุ้มครอง ความปลอดภัย และความรักจากกลุ่มอิทธิพลต่าง ๆ ที่มีต่อเขา บุคคลพวกนี้จึงมีแนวโน้มที่จะเป็นผู้ตามแฟชั่น (fashion followers) จึงนิยมซื้อผลิตภัณฑ์ตามอย่างกลุ่ม
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ฟรอยด์ ได้อธิบายถึงการพัฒนาการทางบุคลิกภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางเพศ (Stage of Psychosexual Development) จากความเชื่อเกี่ยวกับสัญชาตญาณทางเพศในเด็กทารกที่แสดงออกมาในรูปพลังของ ลิบิโด (Libido) และสามารถเคลื่อนที่ไปยังส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายและบริเวณที่พลังลิบิโดไปรวมอยู่เรียกว่า ที่ของความรู้สึกพึงพอใจ (Erogeneous Zone) เมื่อพลังลิบิโดไปอยู่ในส่วนใดก็จะก่อให้เกิดความตึงเครียด (Tension) ซึ่งฟรอยด์ แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น ได้แก่
1. ขั้นปาก (Oral Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดถึง 1 ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่บริเวณปาก การได้รับการกระตุ้น หรือเร้าที่ปากจะทำให้เด็กเกิดความพึงพอใจ ทำให้เด็กตอบสนองความพึงพอใจของตนเองโดยการดูด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การดูดนมแม่จึงเป็นความสุขและความพึงพอใจของเขา
2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage) เด็กจะมีอายุตั้งแต่ 1-3ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่บริเวณทวาร โดยที่เด็กจะมีความพึงพอใจเมื่อมีสิ่งมากระตุ้น หรือเร้าบริเวณทวารในระยะนี้เด็กเริ่มเป็นตัวของตัวเอง เริ่มมีความพึงพอใจกับความสามารถในการควบคุมอวัยวะของตนเอง โดยเฉพาะอวัยวะขับถ่าย กิจกรรมที่เด็กมีความสุขจะเกี่ยวข้องกับการกลั้นอุจจาระ (Anal Retention) และการถ่ายอุจจาระ (Anal Expulsion) ความขัดแย้งที่มักเกิดขึ้นในขั้นนี้คือ การฝึกหัดการขับถ่าย(Toilet) Training ดังนั้น ถ้าพ่อแม่เลี้ยงดูด้วยความเอาใจใส่ และฝึกการขับถ่ายให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage) เริ่มตั้งแต่ 3 - 5 ขวบ ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่อวัยวะเพศ โดยที่เด็กเกิดความรู้สึกพึงพอใจกับการจับต้องอวัยวะเพศ เพราะมีความพึงพอใจทางเพศอยู่ที่ตนเองในระยะแรก ถ้าเด็กมีเพศตรงข้ามกับพ่อแม่เด็ก จะทำให้เด็กชายรักใคร่ และหวงแหนแม่จึงเกิดความรู้สึกอิจฉา เด็กหญิงจะรักใคร่และหวง แหนพ่อ จึงรู้สึกอิจฉาและเป็นศัตรูกับแม่
4. ขั้นแฝง (Latency Stage) เริ่มตั้งแต่ อายุ 6 – 12 ปี ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะไม่ปรากฏอยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายโดยเฉพาะ เสมือนขั้นแฝงของพลัง Libido เป็นระยะพักในเรื่องเพศ และจินตนาการทางเพศ
5. ขั้นอวัยวะเพศตอนปลาย (Genital Stage) เริ่มจาก 12 ขวบเป็นต้นไป ในระยะนี้เด็กจะเข้าสู่วัยรุ่น ไปจนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยชรา โดยมีErogonous Zone จะมาอยู่ที่อวัยวะเพศ (Genitel Area) เมื่อเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทั้งหญิงและชายต่างๆ กัน และมีพัฒนาการทางร่างกายมีความสามารถในการสืบพันธุ์ ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ มีความต้องการทางเพศอย่างรุนแรง ต้องการเป็นตัวของตัวเอง ต้องการเป็นอิสระ
.....................................................................................................................................
(1) พวกยึดถือขนบธรรมเนียมดั้งเดิม (Tradition – directed persons) ได้แก่ พวกที่ชอบประพฤติปฏิบัติไปตามแบบอย่างที่เคยปฏิบัติกันมา กลุ่มคนพวกนี้จะขอคำแนะนำจากผู้ใหญ่ผู้สูงอายุมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ และโดยทั่วไปจะขัดขืนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการซื้อ จะยึดถือนิสัยความเคยชินเป็นหลัก และจะไม่เป็นผู้นำทางแฟชั่น (fashion leader)
(2) พวกยึดถือตัวเองเป็นหลัก (Inner - directed persons) ได้แก่ พวกที่มีระบบค่านิยมของตนเอง มาใช้เป็นแนวทางในการกำหนดพฤติกรรมต่าง ๆ ปฏิบัติกิจกรรมตามคำบัญชาของตนเองอย่างเหนี่ยวแน่น มีความเป็นอิสระและผู้อื่นจะมามีอิทธิพลจูงใจได้ยาก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง
(3) พวกยึดถือผู้อื่นเป็นแบบอย่าง (Other - directed persons) ได้แก่ พวกชอบทำตามผู้อื่นทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าเขาต้องการความคุ้มครอง ความปลอดภัย และความรักจากกลุ่มอิทธิพลต่าง ๆ ที่มีต่อเขา บุคคลพวกนี้จึงมีแนวโน้มที่จะเป็นผู้ตามแฟชั่น (fashion followers) จึงนิยมซื้อผลิตภัณฑ์ตามอย่างกลุ่ม
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ฟรอยด์ ได้อธิบายถึงการพัฒนาการทางบุคลิกภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทางเพศ (Stage of Psychosexual Development) จากความเชื่อเกี่ยวกับสัญชาตญาณทางเพศในเด็กทารกที่แสดงออกมาในรูปพลังของ ลิบิโด (Libido) และสามารถเคลื่อนที่ไปยังส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายและบริเวณที่พลังลิบิโดไปรวมอยู่เรียกว่า ที่ของความรู้สึกพึงพอใจ (Erogeneous Zone) เมื่อพลังลิบิโดไปอยู่ในส่วนใดก็จะก่อให้เกิดความตึงเครียด (Tension) ซึ่งฟรอยด์ แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น ได้แก่
1. ขั้นปาก (Oral Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดถึง 1 ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่บริเวณปาก การได้รับการกระตุ้น หรือเร้าที่ปากจะทำให้เด็กเกิดความพึงพอใจ ทำให้เด็กตอบสนองความพึงพอใจของตนเองโดยการดูด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การดูดนมแม่จึงเป็นความสุขและความพึงพอใจของเขา
2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage) เด็กจะมีอายุตั้งแต่ 1-3ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่บริเวณทวาร โดยที่เด็กจะมีความพึงพอใจเมื่อมีสิ่งมากระตุ้น หรือเร้าบริเวณทวารในระยะนี้เด็กเริ่มเป็นตัวของตัวเอง เริ่มมีความพึงพอใจกับความสามารถในการควบคุมอวัยวะของตนเอง โดยเฉพาะอวัยวะขับถ่าย กิจกรรมที่เด็กมีความสุขจะเกี่ยวข้องกับการกลั้นอุจจาระ (Anal Retention) และการถ่ายอุจจาระ (Anal Expulsion) ความขัดแย้งที่มักเกิดขึ้นในขั้นนี้คือ การฝึกหัดการขับถ่าย(Toilet) Training ดังนั้น ถ้าพ่อแม่เลี้ยงดูด้วยความเอาใจใส่ และฝึกการขับถ่ายให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage) เด็กจะมีอายุตั้งแต่ 1-3ขวบ ในวัยนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่บริเวณทวาร โดยที่เด็กจะมีความพึงพอใจเมื่อมีสิ่งมากระตุ้น หรือเร้าบริเวณทวารในระยะนี้เด็กเริ่มเป็นตัวของตัวเอง เริ่มมีความพึงพอใจกับความสามารถในการควบคุมอวัยวะของตนเอง โดยเฉพาะอวัยวะขับถ่าย กิจกรรมที่เด็กมีความสุขจะเกี่ยวข้องกับการกลั้นอุจจาระ (Anal Retention) และการถ่ายอุจจาระ (Anal Expulsion) ความขัดแย้งที่มักเกิดขึ้นในขั้นนี้คือ การฝึกหัดการขับถ่าย(Toilet) Training ดังนั้น ถ้าพ่อแม่เลี้ยงดูด้วยความเอาใจใส่ และฝึกการขับถ่ายให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage) เริ่มตั้งแต่ 3 - 5 ขวบ ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะอยู่ที่อวัยวะเพศ โดยที่เด็กเกิดความรู้สึกพึงพอใจกับการจับต้องอวัยวะเพศ เพราะมีความพึงพอใจทางเพศอยู่ที่ตนเองในระยะแรก ถ้าเด็กมีเพศตรงข้ามกับพ่อแม่เด็ก จะทำให้เด็กชายรักใคร่ และหวงแหนแม่จึงเกิดความรู้สึกอิจฉา เด็กหญิงจะรักใคร่และหวง แหนพ่อ จึงรู้สึกอิจฉาและเป็นศัตรูกับแม่
4. ขั้นแฝง (Latency Stage) เริ่มตั้งแต่ อายุ 6 – 12 ปี ในขั้นนี้ Erogenous Zone จะไม่ปรากฏอยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายโดยเฉพาะ เสมือนขั้นแฝงของพลัง Libido เป็นระยะพักในเรื่องเพศ และจินตนาการทางเพศ
5. ขั้นอวัยวะเพศตอนปลาย (Genital Stage) เริ่มจาก 12 ขวบเป็นต้นไป ในระยะนี้เด็กจะเข้าสู่วัยรุ่น ไปจนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยชรา โดยมีErogonous Zone จะมาอยู่ที่อวัยวะเพศ (Genitel Area) เมื่อเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทั้งหญิงและชายต่างๆ กัน และมีพัฒนาการทางร่างกายมีความสามารถในการสืบพันธุ์ ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ มีความต้องการทางเพศอย่างรุนแรง ต้องการเป็นตัวของตัวเอง ต้องการเป็นอิสระ
.....................................................................................................................................
การประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
การประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
1.ความพร้อมจะเกิดขึ้นได้โดยการที่ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมให้กับเด็ก
2.ครูควรจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ในช่วง 6 ปีแรก
3.ไม่ต้องรอให้เด็กพร้อมก็เข้าโรงเรียนได้โดยครูเป็นคนจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความพร้อมเอง
4.ช่วงต่างๆของพัฒนาการไม่ใช่เป็นสิ่งที่บอกว่าเด็กควรอ่าน ควรพูดวิชาต่างๆ ได้แล้วแต่เป็นสิ่งที่ครูจะต้องทำ
5.คิดว่าจะสอนอย่างไรให้สอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กแต่ละคน
องค์ประกอบที่มีส่วนพัฒนาการทางบุคลิกภาพ มีดังนี้
1. วุฒิภาวะ ซึ่งหมายถึงขั้นพัฒนาการตามวัย
2. ความคับข้องใจ ที่เกิดจากความสมหวังไม่สมหวัง เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
3. ความคับข้องใจ เนื่องมาจากความขัดแย้งภายใน
4. ความไม่พร้อมของตนเอง ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านเชาวน์ปัญญา และการขาดประสบการณ์
5. ความวิตกกังวล เนื่องมาจากความกลัว หรือความไม่กล้าของตนเอง
ฟรอยด์เชื่อว่า ความคับข้องใจ เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาการทางบุคลิกภาพ แต่ต้องมีจำนวนพอเหมาะที่จะช่วยพัฒนา Ego แต่ถ้ามีความคับข้องใจมากเกินไป ก็จะเกิดมีปัญหา และทำให้เกิดกลไกในการป้องกันตัว (Defense Mechanism) ซึ่งเป็นวิธีการปรับตัวในระดับจิตไร้สำนึก กลไกในการป้องกันตัวมักจะเป็นสิ่งที่คนทั่วไปนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของบุคคลปกติทุกวัย ตั้งแต่อนุบาลจนถึงวัยชรา
.....................................................................................................................................
การประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
1.ความพร้อมจะเกิดขึ้นได้โดยการที่ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมให้กับเด็ก
2.ครูควรจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ในช่วง 6 ปีแรก
3.ไม่ต้องรอให้เด็กพร้อมก็เข้าโรงเรียนได้โดยครูเป็นคนจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความพร้อมเอง
4.ช่วงต่างๆของพัฒนาการไม่ใช่เป็นสิ่งที่บอกว่าเด็กควรอ่าน ควรพูดวิชาต่างๆ ได้แล้วแต่เป็นสิ่งที่ครูจะต้องทำ
5.คิดว่าจะสอนอย่างไรให้สอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กแต่ละคน
องค์ประกอบที่มีส่วนพัฒนาการทางบุคลิกภาพ มีดังนี้
1. วุฒิภาวะ ซึ่งหมายถึงขั้นพัฒนาการตามวัย
2. ความคับข้องใจ ที่เกิดจากความสมหวังไม่สมหวัง เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
3. ความคับข้องใจ เนื่องมาจากความขัดแย้งภายใน
4. ความไม่พร้อมของตนเอง ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านเชาวน์ปัญญา และการขาดประสบการณ์
5. ความวิตกกังวล เนื่องมาจากความกลัว หรือความไม่กล้าของตนเอง
2. ความคับข้องใจ ที่เกิดจากความสมหวังไม่สมหวัง เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
3. ความคับข้องใจ เนื่องมาจากความขัดแย้งภายใน
4. ความไม่พร้อมของตนเอง ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านเชาวน์ปัญญา และการขาดประสบการณ์
5. ความวิตกกังวล เนื่องมาจากความกลัว หรือความไม่กล้าของตนเอง
ฟรอยด์เชื่อว่า ความคับข้องใจ เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาการทางบุคลิกภาพ แต่ต้องมีจำนวนพอเหมาะที่จะช่วยพัฒนา Ego แต่ถ้ามีความคับข้องใจมากเกินไป ก็จะเกิดมีปัญหา และทำให้เกิดกลไกในการป้องกันตัว (Defense Mechanism) ซึ่งเป็นวิธีการปรับตัวในระดับจิตไร้สำนึก กลไกในการป้องกันตัวมักจะเป็นสิ่งที่คนทั่วไปนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของบุคคลปกติทุกวัย ตั้งแต่อนุบาลจนถึงวัยชรา
.....................................................................................................................................
แบบทดสอบ
จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1.Superego เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับศิลธรรม จรรยาข้อใดต่อไปนี้เป็น superego
ก. การรักษาขนบธรรมเนียม
ข. การรับค่านิยมจากพ่อและแม่
ค. การรักษาประเพณีวัฒนธรรม
ง. การรับค่านิยมจากบรรพบุรุษ
2. ขั้นแฝงของขั้นพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์จัดอยู่ในช่วงวัยใดต่อไปนี้
ก. แรกเกิด
ข. อนุบาล
ค. ประถมศึกษา
ง. มัธยมตอนต้น
3. โครงสร้างของบุคลิกภาพข้อใดที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกเป็นส่วนใหญ่
ก. อิด(id)
ข. อีโก้(Ego)
ค. ซูเปอร์อีโก้(superego)
ง. ถูกทุกข้อ
4. เด็กที่ถูกพ่อแม่บีบบังคับมากจนเกินไปจะทำให้เด็กเกิดกลไกในการป้องกันตัวข้อใด
ก. การเก็บกด
ข. การถดถอย
ค. การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง
ง. การแยกตัว
5. เด็กที่ชอบเอาแต่ใจตัวเองจัดอยู่ในกลไกในการป้องกันตัวข้อใด
ก. การเก็บกด
ข. การถดถอย
ค. การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง
ง. การแยกตัว
6.ความรู้สึกพึงพอใจของวัยรุ่นจัดอยู่ในขั้นใดของขั้นพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์
ก. ขั้นทวาร
ข. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น
ค. ขั้นแฝง
ง. ขั้นอวัยวะเพศตอนปลาย
7. ถ้าแม่รักลูกอีกคนมากกว่าจะแสดงอาการที่แตกต่างกันจัดอยู่ในกลไกการป้องกันตัวข้อใด
ก. การเก็บกด
ข. การถดถอย
ค. การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง
ง. การแยกตัว
8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นตัวที่ทำให้เกิดพฤติกรรมแสดงออกมาให้เห็น
ก. อิด(id)
ข. อีโก้(Ego)
ค. ซูเปอร์อีโก้(superego)
ง. ถูกทุกข้อ
9. จิตไร้สำนึก คืออะไร
ก. ความปรารถนา
ข. ความพึงพอใจ
ค. แรงจูงใจ
ง. ความต้องการ
10. ขั้นปากของขั้นพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์จัดอยู่ในช่วงวัยใดต่อไปนี้
ก. แรกเกิด
ข. อนุบาล
ค. ประถมศึกษา
ง. มัธยมตอนต้น
1.Superego เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับศิลธรรม จรรยาข้อใดต่อไปนี้เป็น superego
ก. การรักษาขนบธรรมเนียม
ข. การรับค่านิยมจากพ่อและแม่
ค. การรักษาประเพณีวัฒนธรรม
ง. การรับค่านิยมจากบรรพบุรุษ
2. ขั้นแฝงของขั้นพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์จัดอยู่ในช่วงวัยใดต่อไปนี้
ก. แรกเกิด
ข. อนุบาล
ค. ประถมศึกษา
ง. มัธยมตอนต้น
3. โครงสร้างของบุคลิกภาพข้อใดที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกเป็นส่วนใหญ่
ก. อิด(id)
ข. อีโก้(Ego)
ค. ซูเปอร์อีโก้(superego)
ง. ถูกทุกข้อ
4. เด็กที่ถูกพ่อแม่บีบบังคับมากจนเกินไปจะทำให้เด็กเกิดกลไกในการป้องกันตัวข้อใด
ก. การเก็บกด
ข. การถดถอย
ค. การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง
ง. การแยกตัว
5. เด็กที่ชอบเอาแต่ใจตัวเองจัดอยู่ในกลไกในการป้องกันตัวข้อใด
ก. การเก็บกด
ข. การถดถอย
ค. การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง
ง. การแยกตัว
6.ความรู้สึกพึงพอใจของวัยรุ่นจัดอยู่ในขั้นใดของขั้นพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์
ก. ขั้นทวาร
ข. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น
ค. ขั้นแฝง
ง. ขั้นอวัยวะเพศตอนปลาย
7. ถ้าแม่รักลูกอีกคนมากกว่าจะแสดงอาการที่แตกต่างกันจัดอยู่ในกลไกการป้องกันตัวข้อใด
ก. การเก็บกด
ข. การถดถอย
ค. การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง
ง. การแยกตัว
8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นตัวที่ทำให้เกิดพฤติกรรมแสดงออกมาให้เห็น
ก. อิด(id)
ข. อีโก้(Ego)
ค. ซูเปอร์อีโก้(superego)
ง. ถูกทุกข้อ
9. จิตไร้สำนึก คืออะไร
ก. ความปรารถนา
ข. ความพึงพอใจ
ค. แรงจูงใจ
ง. ความต้องการ
10. ขั้นปากของขั้นพัฒนาบุคลิกภาพของฟรอยด์จัดอยู่ในช่วงวัยใดต่อไปนี้
ก. แรกเกิด
ข. อนุบาล
ค. ประถมศึกษา
ง. มัธยมตอนต้น
เฉลย
1.ข
2.ค
3.ก
4.ก
5.ข
6.ง
7.ค
8.ข
9.ก
10.ก
..........................................................................................................................................................................................................................
1.ข
2.ค
3.ก
4.ก
5.ข
6.ง
7.ค
8.ข
9.ก
10.ก
..........................................................................................................................................................................................................................
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น